สรุปศึกษาดูงาน อบต. ท่าเรือ |
บทนำ
ประวัติการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) มีวิวัฒนาการและความเป็นมาเช่นเดียวกับสภาตำบล เหตุที่มีการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัดส่วนตำบลขึ้นมาใหม่นั้น เนื่องจากรัฐบาลในช่วงเวลาดังกล่าวมีนโยบายที่จะกระจายอำนาจการปกครองไปสู่ประชาชนให้มากขึ้น จึงได้พิจารณาปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับ “สภาตำบล” ที่มีอยู่แต่เดิมเสียใหม่ และได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยให้มีการยกฐานะสภาตำบลที่มีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบใหม่ เรียกว่า “องค์การบริหารส่วนตำบล” และต่อมาได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัตินี้มาจนถึง ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๓
หลักเกณฑ์การจัดตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลจัดตั้งจาก สภาตำบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ ล่วงมาติดต่อกัน ๓ ปี เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท หรือตามเกณฑ์รายได้เฉลี่ยที่มีการเปลี่ยนแปลง(ซึ่งทำเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทยและประกาศ ลงในราชกิจจานุเบกษา) การประกาศยกฐานะ สภาตำบลเป็น องค์การบริหารส่วนตำบลต้องทำเป็น ประกาศกระทรวงมหาดไทย และประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา โดยในประกาศให้ระบุชื่อและเขต ขององค์การบริหารส่วนตำบลไว้ด้วย องค์การบริหารส่วนตำบล มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
การยุบรวมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
๑. องค์การบริหารส่วนตำบลใดมีจำนวนประชากรไม่ถึง ๒,๐๐๐ คน ทั้งเป็นเหตุไม่สามารถที่จะดำเนินการบริหารงานพื้นที่นั้นให้มีประสิทธิภาพในลักษณะขององค์การบริหารส่วนตำบลได้ ให้กระทรวงมหาดไทยประกาศยุบองค์การบริหารตำบลดังกล่าว โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับองค์การบริหารส่วนตำบลอื่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน หรือให้ตราพระราชกฤษฎีกายุบองค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าว โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่มีเหตุดังกล่าว
๒. สภาตำบลหรือองค์การบริหารส่วนตำบลอาจรวมกับองค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกันได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นได้
๓. สภาตำบลหรือองค์การบริหารส่วนตำบลอาจรวมกับหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกันได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและให้กำหนดเขตใหม่ของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
อำนาจหน้าที่ องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายดังนี้
๑. อำนาจหน้าที่ทั่วไป พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
๒. หน้าที่ที่กฎหมายบังคับให้ทำ
การยุบรวมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
๑. องค์การบริหารส่วนตำบลใดมีจำนวนประชากรไม่ถึง ๒,๐๐๐ คน ทั้งเป็นเหตุไม่สามารถที่จะดำเนินการบริหารงานพื้นที่นั้นให้มีประสิทธิภาพในลักษณะขององค์การบริหารส่วนตำบลได้ ให้กระทรวงมหาดไทยประกาศยุบองค์การบริหารตำบลดังกล่าว โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับองค์การบริหารส่วนตำบลอื่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน หรือให้ตราพระราชกฤษฎีกายุบองค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าว โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่มีเหตุดังกล่าว
๒. สภาตำบลหรือองค์การบริหารส่วนตำบลอาจรวมกับองค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกันได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นได้
๓. สภาตำบลหรือองค์การบริหารส่วนตำบลอาจรวมกับหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกันได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตตำบลนั้นโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและให้กำหนดเขตใหม่ของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
อำนาจหน้าที่ องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายดังนี้
๑. อำนาจหน้าที่ทั่วไป พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
๒. หน้าที่ที่กฎหมายบังคับให้ทำ
(๑) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
(๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอย และ สิ่งปฏิกูล
(๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๕) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
(๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ
(๗) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(๘) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตาม
ความจำเป็นและสมควร
๓. หน้าที่ที่ไม่บังคับให้ทำ
(๑) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
(๒) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(๓) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
(๔) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(๗) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร์
(๘) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
(๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(๑๒) การท่องเที่ยว
(๑๓) การผังเมือง องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออก ข้อบังคับตำบล เพื่อใช้บังคับภายในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล โดยจะกำหนดค่าธรรมเนียมหรือกำหนดโทษ ปรับได้ไม่เกิน ๕๐๐ บาท
๓. หน้าที่ที่ไม่บังคับให้ทำ
(๑) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
(๒) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(๓) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
(๔) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(๗) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร์
(๘) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
(๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(๑๒) การท่องเที่ยว
(๑๓) การผังเมือง องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออก ข้อบังคับตำบล เพื่อใช้บังคับภายในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล โดยจะกำหนดค่าธรรมเนียมหรือกำหนดโทษ ปรับได้ไม่เกิน ๕๐๐ บาท
รูปแบบการบริหาร
องค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนตำบลและคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น จำนวนอย่างน้อยที่สุด 6 คน แต่จะมีจำนวนมากเพียงใดขึ้นอยู่กับจำนวนหมู่บ้านในเขต ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.
จำนวนสมาชิกสภา อบต.
๑ หมู่บ้าน มีหมู่บ้านละ ๖ คน
๒ หมู่บ้าน มีหมู่บ้านละ ๓ คน
ตั้งแต่ ๓ หมู่บ้านขึ้นไป มีหมู่บ้านละ ๒ คน
องค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนตำบลและคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น จำนวนอย่างน้อยที่สุด 6 คน แต่จะมีจำนวนมากเพียงใดขึ้นอยู่กับจำนวนหมู่บ้านในเขต ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.
จำนวนสมาชิกสภา อบต.
๑ หมู่บ้าน มีหมู่บ้านละ ๖ คน
๒ หมู่บ้าน มีหมู่บ้านละ ๓ คน
ตั้งแต่ ๓ หมู่บ้านขึ้นไป มีหมู่บ้านละ ๒ คน
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
ต้องมีคุณสมบัติตาม ข้อ (๑) และ (๒) และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม (๓) และ (๔) ดังนี้
(๑) มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
(๒) มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านในตำบลนั้นเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า ๓ เดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
(๓) ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(๔) เป็นคนวิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(๑) มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
(๒) มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านในตำบลนั้นเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า ๓ เดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
(๓) ไม่เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(๔) เป็นคนวิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๑. มีคุณสมบัติตามมาตรา ๙ (๑) และ (๒) ดังนี้
- มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่า ๒๕ ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
- มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านในตำบลนั้นเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 เดือนจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
๒. ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙ (๓)-(๗) (๙) หรือ (๑๐) ดังนี้
- เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
- เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพ วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบติดยาเสพติดให้โทษ หรือเป็นโรคตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดไว้สำหรับคุณสมบัติของผู้ใหญ่บ้านตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่
- เป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานองค์การของรัฐ
- เป็นผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หรือสารวัตรกำนัน
- เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่าทุจริตต่อหน้าที่
- เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก โดยพ้นโทษมาแล้วไม่ถึง ๓ ปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่โทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
- เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือเสื่อมเสียศีลธรรม
๓. ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ในสัญญากับองค์การบริหารส่วนตำบลที่ตนสมัครรับเลือกตั้งหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น
๔. ไม่เคยถูกผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้ออกจากตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือ แพทย์ประจำตำบล เว้นแต่จะพ้น ๕ ปีนับแต่วันพ้นจากตำแหน่งจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
๕. ไม่เคยถูกสภาตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล หรือไม่เคยถูกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเว้นแต่จะพ้น ๕ ปี นับแต่วันพ้นจากตำแหน่งจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
๑. มีคุณสมบัติตามมาตรา ๙ (๑) และ (๒) ดังนี้
- มีสัญชาติไทย และมีอายุไม่ต่ำกว่า ๒๕ ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
- มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านในตำบลนั้นเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 เดือนจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
๒. ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙ (๓)-(๗) (๙) หรือ (๑๐) ดังนี้
- เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
- เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพ วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบติดยาเสพติดให้โทษ หรือเป็นโรคตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดไว้สำหรับคุณสมบัติของผู้ใหญ่บ้านตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่
- เป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานองค์การของรัฐ
- เป็นผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หรือสารวัตรกำนัน
- เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่าทุจริตต่อหน้าที่
- เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก โดยพ้นโทษมาแล้วไม่ถึง ๓ ปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่โทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
- เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือเสื่อมเสียศีลธรรม
๓. ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ในสัญญากับองค์การบริหารส่วนตำบลที่ตนสมัครรับเลือกตั้งหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น
๔. ไม่เคยถูกผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้ออกจากตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือ แพทย์ประจำตำบล เว้นแต่จะพ้น ๕ ปีนับแต่วันพ้นจากตำแหน่งจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
๕. ไม่เคยถูกสภาตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล หรือไม่เคยถูกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเว้นแต่จะพ้น ๕ ปี นับแต่วันพ้นจากตำแหน่งจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
วาระดำรงตำแหน่ง อายุของสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีกำหนดคราวละ ๔ ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
การสิ้นสุดสมาชิกภาพ
๑. ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ตาย
๓. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันลาออก
๔. เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญากับองค์การบริหารส่วนตำบลที่ตนดำรงตำแหน่งหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น
๕. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๗ ทวิ
๖. มิได้อยู่ประจำในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นระยะเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน
๗. ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
๘. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งเพราะมีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่องค์การบริหารส่วนตำบลหรือกระทำการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๙. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง
๑. ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหรือมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ตาย
๓. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันลาออก
๔. เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญากับองค์การบริหารส่วนตำบลที่ตนดำรงตำแหน่งหรือในกิจการที่กระทำให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น
๕. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๗ ทวิ
๖. มิได้อยู่ประจำในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นระยะเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน
๗. ขาดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
๘. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่งเพราะมีความประพฤติในทางที่จะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่องค์การบริหารส่วนตำบลหรือกระทำการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณา และมติดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๙. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง
การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หลักเกณฑ์และวิธีการสมัครรับเลือกตั้งและการเลือกตั้ง ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และในระหว่างที่ไม่มีกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลมาใช้บังคับการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลโดยอนุโลม
เมื่อมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หรือถือว่ามีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นใหม่ภายใน ๖๐ วัน
การเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เพราะเหตุแห่งการครบกำหนดวาระให้มีการเลือกตั้งภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ครบวาระ
การเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เพราะเหตุอื่น นอกจากครบวาระหรือยุบสภา ให้เลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งที่เหลืออยู่ไม่ถึง ๑๘๐ วัน จะไม่ดำเนินการเลือกตั้งขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่างก็ได้
อำนาจหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๑. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบลเพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบล
๒. พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล ร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
๓. ควบคุมการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายและแผนพัฒนาตำบลตาม ๑. และกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีประธานสภาและรองประธานสภา ๑ คน ซึ่งเลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล โดยนายอำเภอเป็นผู้แต่งตั้งตามมติของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
ประธานสภาและรองประธานสภาอยู่ในตำแหน่งคราวละ ๒ ปี
ประธานสภาและรองประธานสภานอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้วอาจพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ลาออกโดยยื่นหนังสือต่อนายอำเภอ
(๒) พ้นจากตำแหน่งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) ดำรงตำแหน่งกรรมการบริหาร
เมื่อตำแหน่งประธานสภาและรองประธานสภาว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระ ให้มีการเลือกใหม่ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ในปีหนึ่งมีสมัยประชุมสามัญ 2 สมัยหรือหลายสมัย แล้วแต่สภาองค์การบริหารส่วนตำบลจะกำหนด แต่ต้องไม่เกิน 4 สมัย
การประชุมสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน ๑๕ วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ สำหรับการประชุมครั้งแรกต้องดำเนินการภายใน ๔๕ วันนับแต่วันเลือกตั้ง
เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์ขององค์การบริหารส่วนตำบล ประธานสภา ประธานกรรมการบริหาร หรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีจำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาเท่าที่มีอยู่ อาจทำคำร้องยื่นต่อ นายอำเภอ ขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญ ถ้านายอำเภอเห็นสมควรก็ให้ นายอำเภอเรียกประชุมวิสามัญได้
สมัยประชุมวิสามัญมีกำหนดไม่เกิน ๑๕ วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ
ในการเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามสมัยประชุม ให้ประธานสภา เป็นผู้เรียกประชุมและเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุมการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ต้องมีสมาชิกสภามาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม
เมื่อมีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หรือถือว่ามีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นใหม่ภายใน ๖๐ วัน
การเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เพราะเหตุแห่งการครบกำหนดวาระให้มีการเลือกตั้งภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ครบวาระ
การเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง เพราะเหตุอื่น นอกจากครบวาระหรือยุบสภา ให้เลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งที่เหลืออยู่ไม่ถึง ๑๘๐ วัน จะไม่ดำเนินการเลือกตั้งขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่างก็ได้
อำนาจหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๑. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบลเพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบล
๒. พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล ร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
๓. ควบคุมการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายและแผนพัฒนาตำบลตาม ๑. และกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ
ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีประธานสภาและรองประธานสภา ๑ คน ซึ่งเลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล โดยนายอำเภอเป็นผู้แต่งตั้งตามมติของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
ประธานสภาและรองประธานสภาอยู่ในตำแหน่งคราวละ ๒ ปี
ประธานสภาและรองประธานสภานอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้วอาจพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ลาออกโดยยื่นหนังสือต่อนายอำเภอ
(๒) พ้นจากตำแหน่งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) ดำรงตำแหน่งกรรมการบริหาร
เมื่อตำแหน่งประธานสภาและรองประธานสภาว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระ ให้มีการเลือกใหม่ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ในปีหนึ่งมีสมัยประชุมสามัญ 2 สมัยหรือหลายสมัย แล้วแต่สภาองค์การบริหารส่วนตำบลจะกำหนด แต่ต้องไม่เกิน 4 สมัย
การประชุมสมัยหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกิน ๑๕ วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ สำหรับการประชุมครั้งแรกต้องดำเนินการภายใน ๔๕ วันนับแต่วันเลือกตั้ง
เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์ขององค์การบริหารส่วนตำบล ประธานสภา ประธานกรรมการบริหาร หรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีจำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาเท่าที่มีอยู่ อาจทำคำร้องยื่นต่อ นายอำเภอ ขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญ ถ้านายอำเภอเห็นสมควรก็ให้ นายอำเภอเรียกประชุมวิสามัญได้
สมัยประชุมวิสามัญมีกำหนดไม่เกิน ๑๕ วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ
ในการเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามสมัยประชุม ให้ประธานสภา เป็นผู้เรียกประชุมและเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุมการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ต้องมีสมาชิกสภามาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม
เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
สภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกสมาชิกสภาคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและจัดการประชุม และงานอื่นใดตามที่สภามอบหมาย ทั้งนี้ผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้จะเป็นคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในขณะเดียวกันไม่ได้
คณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล คณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล มีจำนวน 3 คน ซึ่งสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล แล้วเสนอให้นายอำเภอแต่งตั้งประกอบด้วย
๑. ประธานกรรมการบริหาร จำนวน ๑ คน
๒. กรรมการบริหาร จำนวน ๒ คน
ประธานกรรมการบริหาร มีฐานะเป็นผู้แทนขององค์การบริหารส่วนตำบล ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการบริหารแต่งตั้งกรรมการบริหารคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
สภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกสมาชิกสภาคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและจัดการประชุม และงานอื่นใดตามที่สภามอบหมาย ทั้งนี้ผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้จะเป็นคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในขณะเดียวกันไม่ได้
คณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล คณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล มีจำนวน 3 คน ซึ่งสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล แล้วเสนอให้นายอำเภอแต่งตั้งประกอบด้วย
๑. ประธานกรรมการบริหาร จำนวน ๑ คน
๒. กรรมการบริหาร จำนวน ๒ คน
ประธานกรรมการบริหาร มีฐานะเป็นผู้แทนขององค์การบริหารส่วนตำบล ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการบริหารแต่งตั้งกรรมการบริหารคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
๑. บริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามมติ ข้อบังคับและแผนพัฒนาตำบล และรับผิดชอบการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลต่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. จัดทำแผนพัฒนาตำบลและงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาให้ความเห็นชอบ
๓. รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายเงินให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลทราบอย่างน้อย ปีละ ๒ ครั้ง
๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ทางราชการมอบหมาย
คณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
๑. ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. มีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๓. สมาชิกภาพของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลสิ้นสุดลงพร้อมกันตามมาตรา ๔๗ ตรี (๙)
๔. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้คณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๒
๕. คณะกรรมการบริหารลาออก และในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการบริหารมีมติลาออก
๖. ความเป็นกรรมการบริหารของประธานกรรมการบริหารสิ้นสุดลง
๗. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๘. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติไม่รับหลักการแห่งร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมที่คณะกรรมการบริหารเสนอและผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบด้วยกับสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หรือสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม่รับหลักการแห่งร่างข้อบังคับงบประมาณดังกล่าวด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เมื่อคณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามข้อ ๔, ๕, ๖, ๗ หรือ ๘ ให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นคณะกรรมการบริหารขึ้นใหม่ แล้วเสนอให้นายอำเภอ แต่งตั้งภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง และถ้าพ้นกำหนดเวลา ๑๕ วันแล้ว ไม่อาจแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารดังกล่าวได้โดยมีสาเหตุสำคัญจากสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ให้นายอำเภอเสนอผู้ว่า ราชการจังหวัดเพื่อพิจารณาสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๑. บริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามมติ ข้อบังคับและแผนพัฒนาตำบล และรับผิดชอบการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลต่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. จัดทำแผนพัฒนาตำบลและงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพื่อเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาให้ความเห็นชอบ
๓. รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายเงินให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลทราบอย่างน้อย ปีละ ๒ ครั้ง
๔. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ทางราชการมอบหมาย
คณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
๑. ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. มีการยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๓. สมาชิกภาพของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลสิ้นสุดลงพร้อมกันตามมาตรา ๔๗ ตรี (๙)
๔. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้คณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๒
๕. คณะกรรมการบริหารลาออก และในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่คณะกรรมการบริหารมีมติลาออก
๖. ความเป็นกรรมการบริหารของประธานกรรมการบริหารสิ้นสุดลง
๗. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติให้พ้นจากตำแหน่ง ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๘. สภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีมติไม่รับหลักการแห่งร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมที่คณะกรรมการบริหารเสนอและผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบด้วยกับสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หรือสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม่รับหลักการแห่งร่างข้อบังคับงบประมาณดังกล่าวด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เมื่อคณะกรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามข้อ ๔, ๕, ๖, ๗ หรือ ๘ ให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลเลือกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นคณะกรรมการบริหารขึ้นใหม่ แล้วเสนอให้นายอำเภอ แต่งตั้งภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง และถ้าพ้นกำหนดเวลา ๑๕ วันแล้ว ไม่อาจแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารดังกล่าวได้โดยมีสาเหตุสำคัญจากสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ให้นายอำเภอเสนอผู้ว่า ราชการจังหวัดเพื่อพิจารณาสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
นอกจากนี้แล้ว ความเป็นกรรมการบริหารสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
๑. พ้นจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับตั้งแต่ วันลาออก
๓. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้กรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๒
๔. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีมติให้พ้นจากตำแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๕. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง
การบริหารงาน การบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมีพนักงานส่วนตำบลและมี โครงสร้างการบริหารงาน ดังนี้
๑. สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ส่วนต่างๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น
นอกจากนี้เพื่อประโยชน์แก่กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลอาจร้องขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นการชั่วคราวได้
รายได้
๑. รายได้จากภาษี
(๑) ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรการฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียม รวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์
(๒) ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อนที่จัดเก็บได้ในจังหวัด แล้วจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจออกข้อบังคับตำบล เพื่อเก็บภาษีอากรและค่าธรรม-เนียมเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของภาษีอากรและค่าธรรมเนียมประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทุกประเภท ดังต่อไปนี้
- ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร ซึ่งสถานประกอบการการตั้งอยู่ในองค์การบริหารส่วนตำบล
- ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตขายสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ซึ่งร้านขายสุราตั้งอยู่ใน องค์การบริหารส่วนตำบล
(๔) รายได้จากอากรตามกฎหมายว่าด้วยน้ำบาดาล เงินจากประทานบัตร ใบอนุญาตและอาชญาบัตรตามกฎหมายว่าด้วยการประมง ค่าภาคหลวงและค่าธรรมเนียมตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ และค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดินที่เก็บในองค์การบริหารส่วนตำบล
(๕) ค่าภาคหลวงแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่และค่าภาคหลวงปิโตรเลียม ทั้งนี้ในองค์การบริหารส่วนตำบลใดเมื่อได้มีการจัดเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วให้จัดสรรแก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๕) เงินที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติในองค์การบริหารส่วนตำบลใด ให้แบ่งให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๗) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจออกข้อบังคับตำบลเพื่อเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้กำหนดเป็นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มขึ้นจากอัตราที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร ดังต่อไปนี้
- ในกรณีที่ประมวลรัษฎากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละศูนย์ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลเก็บในอัตราร้อยละศูนย์
- ในกรณีที่ประมวลรัษฎากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มขึ้นในอัตราอื่น ให้องค์การบริหารส่วนตำบลเก็บหนึ่งในเก้าของอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เก็บเพิ่มขึ้นนี้ ให้ถือเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร
๒. รายได้อื่นๆ
(๑) รายได้จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๒) รายได้จากสาธารณูปโภคขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) รายได้จากกิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๔) ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับตามที่จะมีกฎหมายกำหนด
(๕) เงินและทรัพย์สินอื่นที่มีผู้อุทิศให้
(๕) รายได้อื่นตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้
๑. พ้นจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่าพ้นจากตำแหน่งนับตั้งแต่ วันลาออก
๓. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้กรรมการบริหารพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๒
๔. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีมติให้พ้นจากตำแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
๕. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง
การบริหารงาน การบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมีพนักงานส่วนตำบลและมี โครงสร้างการบริหารงาน ดังนี้
๑. สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
๒. ส่วนต่างๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น
นอกจากนี้เพื่อประโยชน์แก่กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลอาจร้องขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นการชั่วคราวได้
รายได้
๑. รายได้จากภาษี
(๑) ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรการฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียม รวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์
(๒) ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อนที่จัดเก็บได้ในจังหวัด แล้วจัดสรรให้องค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจออกข้อบังคับตำบล เพื่อเก็บภาษีอากรและค่าธรรม-เนียมเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของภาษีอากรและค่าธรรมเนียมประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทุกประเภท ดังต่อไปนี้
- ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร ซึ่งสถานประกอบการการตั้งอยู่ในองค์การบริหารส่วนตำบล
- ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตขายสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ซึ่งร้านขายสุราตั้งอยู่ใน องค์การบริหารส่วนตำบล
(๔) รายได้จากอากรตามกฎหมายว่าด้วยน้ำบาดาล เงินจากประทานบัตร ใบอนุญาตและอาชญาบัตรตามกฎหมายว่าด้วยการประมง ค่าภาคหลวงและค่าธรรมเนียมตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ และค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดินที่เก็บในองค์การบริหารส่วนตำบล
(๕) ค่าภาคหลวงแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่และค่าภาคหลวงปิโตรเลียม ทั้งนี้ในองค์การบริหารส่วนตำบลใดเมื่อได้มีการจัดเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วให้จัดสรรแก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๕) เงินที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติในองค์การบริหารส่วนตำบลใด ให้แบ่งให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๗) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจออกข้อบังคับตำบลเพื่อเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้กำหนดเป็นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มขึ้นจากอัตราที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร ดังต่อไปนี้
- ในกรณีที่ประมวลรัษฎากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละศูนย์ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลเก็บในอัตราร้อยละศูนย์
- ในกรณีที่ประมวลรัษฎากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มขึ้นในอัตราอื่น ให้องค์การบริหารส่วนตำบลเก็บหนึ่งในเก้าของอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เก็บเพิ่มขึ้นนี้ ให้ถือเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร
๒. รายได้อื่นๆ
(๑) รายได้จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๒) รายได้จากสาธารณูปโภคขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๓) รายได้จากกิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๔) ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับตามที่จะมีกฎหมายกำหนด
(๕) เงินและทรัพย์สินอื่นที่มีผู้อุทิศให้
(๕) รายได้อื่นตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้
(๗) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
(๘) รายได้อื่นตามที่จะมีกฎหมายกำหนดให้เป็นขององค์การบริหารส่วนตำบล
การกำกับดูแล
๑. นายอำเภอ มีอำนาจกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการ โดยนายอำเภอมีอำนาจเรียกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล กรรมการบริหาร พนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลมาชี้แจงหรือสอบสวน ตลอดจนเรียกรายการและเอกสารใดๆ จากองค์การบริหารส่วนตำบลมาตรวจสอบได้
๒. เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล หรือประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม นายอำเภอจะรายงานเสนอความเห็นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๓. หากปรากฏว่าคณะกรรมการบริหาร กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจสั่งให้คณะกรรมการบริหารทั้งคณะหรือกรรมการบริหารบางคน พ้นจากตำแหน่งได้ตามคำเสนอแนะของนายอำเภอ
(๘) รายได้อื่นตามที่จะมีกฎหมายกำหนดให้เป็นขององค์การบริหารส่วนตำบล
การกำกับดูแล
๑. นายอำเภอ มีอำนาจกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการ โดยนายอำเภอมีอำนาจเรียกสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล กรรมการบริหาร พนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลมาชี้แจงหรือสอบสวน ตลอดจนเรียกรายการและเอกสารใดๆ จากองค์การบริหารส่วนตำบลมาตรวจสอบได้
๒. เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล หรือประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม นายอำเภอจะรายงานเสนอความเห็นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
๓. หากปรากฏว่าคณะกรรมการบริหาร กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจสั่งให้คณะกรรมการบริหารทั้งคณะหรือกรรมการบริหารบางคน พ้นจากตำแหน่งได้ตามคำเสนอแนะของนายอำเภอ
ลักษณะทั่วไป
ทำเลที่ตั้งและอาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอท่าเรืออยู่ห่างประมาณ ๖ กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาประมาณ ๕๐ กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๑๐.๗๓ ตารางกิโลเมตร (๖,๗๐๙ ไร่) องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๒ มีที่ทำการชั่วคราวตั้งอยู่เลขที่ ๑๔/๒๔ หมู่ที่ ๓ ตำบล ท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียงดังนี้
พื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีพื้นที่ในเขตรับผิดชอบทั้งหมดประมาณ ๑๐.๗๓ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๖,๗๐๙ ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร ๖,๔๐๓ ไร่ และพื้นที่อื่น ๆ ๓๐๖ ไร่ มีเขตการปกครองตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะการปกครองท้องที่ คือ หมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงทั้งหมู่บ้าน จำนวน ๕ หมู่บ้าน คือ
มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในตำบลท่าหลวง คือ เทศบาลตำบลท่าหลวง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างพื้นฐาน ๑. การคมนาคม
การคมนาคมของตำบลท่าหลวงสามารถติดต่อกับอำเภอและตำบลต่าง ๆ มี ๓ สายด้วยกัน สภาพถนนเป็นถนนลาดยาง ได้แก่ - สายท่าหลวง - สระบุรี - สายท่าหลวง - ภาชี - อยุธยา - สายท่าหลวง - เสาไห้ ๒. การประปา
ปัจจุบันในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงใช้ระบบประปาหมู่บ้านซึ่ง บริการจัดการโดยคณะกรรมการประปาหมู่บ้าน มีทั้งหมด ๔ จุด คือ ๓. การไฟฟ้า เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงอยู่ในความรับผิดชอบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (อำเภอท่าเรือ) ปัจจุบันมีไฟฟ้าสาธารณะประมาณ 85%ของพื้นที่ และมีไฟฟ้าบ้านใช้ทุกหมู่บ้าน ๔. การสื่อสาร เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงอยู่ในความรับผิดชอบของที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข (อำเภอท่าเรือ) และองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (อำเภอท่าเรือ) ไม่มีที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขในพื้นที่ตำบลท่าหลวง แต่สามารถเดินทางไปใช้บริการในอำเภอท่าเรือได้ ๕. จำนวนประชากร มีดังนี้
(ข้อมูลจากการเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ณ วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙)
(ข้อมูลจากการเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ณ วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙) |
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ในองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีพื้นที่ทำการเกษตรประมาณ ๙๕% ของพื้นที่ทั้งหมดหรือประมาณ ๖,๔๐๐ ไร่ ประชากรมีรายได้เฉลี่ย ๕๑,๖๐๙ บาท/คน/ปี (ข้อมูลจากการสำรวจข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี ๒๕๔๙) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมพื้นที่ใกล้เคียง ร้อยละ ๘๐ ทำการเกษตรร้อยละ ๑๕ และอาชีพอื่น ๆ ร้อยละ ๕ หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง
กลุ่มอาชีพในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง
ประเภทผู้ผลิตชุมชน (ผลิตภัณฑ์อาหาร)
ประเภทผู้ผลิตชุมชน (ผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย)
ประเภทผู้ผลิตชุมชน (ผลิตภัณฑ์ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
ประเภทผู้ผลิตชุมชน (ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ)
|
ข้อมูลด้านสังคม
๑. ด้านศาสนา ประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและมีวัดในพื้นที่จำนวน ๔ แห่ง ดังนี้
๒. ด้านการสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีสถานบริการสาธารณสุขในเขตตำบลท่าหลวง จำนวน ๑ แห่ง คือ สถานีอนามัยตำบลท่าหลวง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีบุคลากรปฏิบัติงานดังนี้
๓. ด้านการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลท่าหลวง จำนวน 1 แห่ง ๔. ด้านการศึกษา มีสถานศึกษาอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง จำนวน ๕ แห่ง ดังนี้
(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙) ๕. ด้านกีฬาและนันทนาการ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีลานกีฬาเอนกประสงค์ จำนวน ๓ แห่ง คือ - บริเวณสนามกีฬาโรงเรียนวัดหัวหิน - บริเวณสนามกีฬาหน้าสถานีอนามัยตำบลท่าหลวง - บริเวณสนามโรงเรียนท่าหลวงวิทยานุกูล ๖. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีป้อมตำรวจ จำนวน ๑ แห่ง อยู่บริเวณทางแยกเข้าวัดไก่จ้น หมู่ที่ ๑๐ ตำบลท่าหลวง ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่ตำรวจ จากสถานีตำรวจภูธรอำเภอท่าเรือมาประจำเวรยามอยู่ตลอดเวลา ๗. ด้านวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น - ประเพณีทำบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ - ประเพณีวันสงกรานต์ - ประเพณีถวายเทียนพรรษา - ประเพณีแข่งขันเรือยาว - ประเพณีเนื่องในวันลอยกระทง - ฯลฯ |
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สภาพภูมิประเทศของตำบลท่าหลวงเป็นที่ราบลุ่มมีน้ำท่วมถึงประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมด สภาพดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วมบางแห่งเป็นดินเค็มร้อยละ 10 ของพื้นที่ ๑. แหล่งน้ำธรรมชาติ
๒. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ขยะ เนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีรายได้ไม่เพียงพอในการบริหารจัดการขยะเอง จึงได้ตกลงจ้างเหมาบริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทน |
ด้านการเมืองและการบริหาร
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง มีเขตการปกครอง จำนวน ๕ หมู่บ้าน สามารถมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ได้หมู่ละ ๒ คน รวม ๑๐ คน คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล ๓ คน และเลขานุการนายกฯ ๑ คน รวมทั้งหมด ๑๔ คน การบริหาร องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
|
๑.๒ |
กลยุทธ์การบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง
๑) เป้าหมายสูงสุดหรือผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงที่ต้องการให้เกิดขึ้น
ประกอบด้วย
* งานกระบวนงาน
(๑) ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
(๒) มีการบริหารงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
(๓) มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างสำนัก/กอง สามารถประสานงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ตามผลการปฏิบัติงานที่แท้จริง
* คน
(๑) บุคลากรมีจิตสำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรม ของการเป็นข้าราชการ
(๒) มีความเชี่ยวชาญและทักษะของงานที่ตนรับผิดชอบ
(๓) บุคลากรมีความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และสามารถปฏิบัติงานได้ในสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
(๔) จำนวนบุคลากรมีความเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
* ทรัพยากร
(๑) มีอุปกรณ์ในการทำงานที่ทันสมัย อย่างพอเพียง
(๒) นำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น
(๓) มีงบประมาณสนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลากรอย่างพอเพียง
* ผู้รับบริการ/ประชาชน
(๑) ประชาชนได้รับบริการอย่างทั่วถึง มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง
(๒) ประชาชนมีความพึงพอใจ
(๓) ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
๒) อะไรบ้างที่เป็นจุดแข็งหรือสิ่งที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง และอยากจะให้รักษาไว้ต่อไปหรือมุ่งเน้นให้ดียิ่งขึ้น
(๑) ผู้บริหารส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร
(๒) บุคลากรมีมนุษย์สัมพันธ์ ทำงานแบบฉันท์พี่น้อง
(๓) บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในหน้าที่แต่ละตำแหน่ง
(๔) สภาพแวดล้อมในการทำงานที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร
(๕) มีการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรในแต่ละตำแหน่งอย่างต่อเนื่อง
(๖) มีสวัสดิการให้บุคลากร
๓) อะไรบ้างที่เป็นสิ่งท้าทาย หรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงประสบผลสำเร็จ เป้าหมายสูงสุดที่คาดหวัง
(๑) สร้างจิตสำนึกให้ข้าราชการในทุกระดับ เป็นข้าราชการที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม
(๒) สร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
(๓) การพัฒนาข้าราชการอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
(๔) การกระจายอำนาจการตัดสินใจไปสู่ระดับสำนัก/กองเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน
(๕) ผู้ปฏิบัติงานไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
๔) อะไรบ้างที่หน่วยงานการเจ้าหน้าที่ควรจะทำ แต่ไม่ได้ทำในช่วงที่ผ่านมา หรือท่านคาดหวังให้หน่วยงานการเจ้าหน้าที่สนับสนุน
๑) มีการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน
๒) มีการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างสม่ำเสมอ
๓) ยึดหลักสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์ของงานในการประเมินบุคลากร
ส่วนที่ ๒ |
ผลการพัฒนาองค์การ
บริหารส่วนตำบลท่าหลวง
๒.๑๑๑๑ |
๒.๑ ผลการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง
ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงได้จัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาของประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงโดยรวมให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งในระยะเวลาที่ผ่านมาทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการให้ครบและทั่วถึงได้ ซึ่งบางโครงการต้องใช้งบประมาณในการดำเนินงานมากเกินขีดความสามารถ องค์การบริหารส่วนตำบล ท่าหลวงเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหรือได้รับงบประมาณอุดหนุนจากรัฐบาล เพื่อนำมาใช้ในการบริหารงานให้ได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งที่ผ่านมาได้ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวง ประจำปี ๒๕๕๓ โดยปรากฏผลดำเนินการ ดังนี้
๒.๑ การสรุปสถานการณ์การพัฒนา
ในการวิเคราะห์ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหลวงได้นำเทคนิค SWOT มาใช้ในการพิจารณาข้อมูล ดังนี้
จุดแข็ง (Strengths) | จุดอ่อน (Weakness) |
-มีแม่น้ำสองสี / แม่น้ำป่าสักไหลผ่าน -แหล่งท่องเที่ยว เขื่อนพระรามหก -กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้, กลุ่มเลี้ยงปลาในกระชัง, ขนมกวน, กลองยาว, ไข่เข็ม, ปลาส้ม, กระดาษสา -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก / โรงเรียน / วัด -ประปาหมู่บ้าน -หมู่บ้านปลอดยาเสพติด -วัฒนธรรม/ประเพณี ได้แก่ วันสงกรานต์, กวนข้าวทิพย์, แข่งขันเรือยาวประเพณี -กลุ่มองค์กรเครือข่าย ได้แก่ อสม., อปพร., ตชต., กลุ่มสมาชิกผู้ใช้น้ำ, กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์, กลุ่มเยาวชน, กลุ่มเกษตรกร, กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน -มีระบบคลองชลประทานเข้าสู่พื้นที่การเกษตร -มีป้อมตำรวจ ๑ ป้อม -เป็นเส้นทางสายหลักเชื่อมต่อ จ.สระบุรี | -ปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ มลพิษทางอากาศ, มลพิษทางเสียง -ประชาชนมีหนี้สินทั้งภาครัฐและเอกชน -ประชาชนขาดจิตสำนึก ศีลธรรม คุณธรรมการเมืองการปกครอง การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การดูแลสุขภาพอนามัยและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม -ประชาชนขาดความเข้าใจในด้านการเมือง การปกครอง, ด้านสุขภาพ -ประชาชนขาดความรู้เรื่องการบริหารเงินทุน -คนว่างงาน -เสียงตามสายในหมู่บ้านยังไม่ทั่วถึง -ไม่มีที่อ่านหนังสือพิมพ์ -ไม่มีตู้โทรศัพท์สาธารณะ -ไม่มีศาลาประชาคมของหมู่บ้าน -ถนนในหมู่บ้านแคบเกินไป -ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน -ชุมชนแออัดขาดความเป็นระเบียบ -วัยรุ่นทะเลาะวิวาท/แข่งรถเสียงดัง -ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ -มีการซื้อสิทธิขายเสียง -ขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายของกลุ่มอาชีพ |
โอกาส (Opportunities) | อุปสรรค (Threats) |
-มีนโยบายของรัฐ นโยบายของจังหวัด -ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ -มีรายได้จากแหล่งท่องเที่ยวมากขึ้น -มีแหล่งข้อมูลข่าวสารอินเตอร์เน็ตตำบล -มีโครงการสนับสนุนกองทุนหมู่บ้าน -มีโครงการเศรษฐกิจชุมชน -มีโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน | -การประสานงานระหว่างองค์กรต่างๆ -ภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย -วัฒนธรรมท้องถิ่นถูกค่านิยมแบบตะวันตกเข้ามามีอิทธิพล |
š›